โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี / คอมเมนต์ในภาษาซี / กฎการตั้งชื่อ
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. ส่วนหัวของโปรแกรม (Preprocessing Directives)
ส่วนหัวของโปรแกรมใช้เพื่อบอกให้คอมไพล์เลอร์กระทำการใดๆก่อนการแปลผลโปรแกรม โดยการกำหนดส่วนหัวของโปรแกรมจะต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # (pound sign) เสมอ
คำสั่งที่จะใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นำเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก
ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซีคือ ฟังก์ชั่น main() ภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่น main() เสมอจะขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตการทำงานของฟังก์ชั่นจะถูกกำหนดด้วยเครื่องหมาย { (เริ่มต้น) และ } (สิ้นสุด) ฟักก์ชั่น main() จะไม่มีอาร์กิวเมนต์ (argument) คือ ไม่มีการรับค่าใดๆเข้ามาประมวลผลภายในฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใดๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย
void ภายในวงเล็บ main() คือ argument เป็นตัวรับค่าเข้ามาภายในฟังก์ชั่น
***ค่าของ parameter และ argument จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน
3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม
เป็นส่วนของการเขียนคำสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทำงานตามที่ได้ออกแบบไว้
คอมเมนต์ในภาษาซี
คอมเมนต์ คือ ส่วนที่มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่คำอธิบายโค้ดโปรแกรมที่เขียนลงไปให้ส่วนของ source code ซึ่งคอมไพล์จะไม่ทำการแปลผลในส่วนนี้ คอมเมนต์ในภาษาซีมีอยู่ 2 แบบ คือ
1. คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว จะใช้เครื่องหมาย //
2. คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด จะใช้เครื่องหมาย /* หน้าข้อความที่ต้องการเขียน และ */ ปิดหลังข้อความ ***คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะทำให้ประหยัดเวลาในการใส่คอมเมนมากกว่ากรณีต้องการใส่คอมเมนต์หลายบรรทัดแต่การใช้คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะไม่สามารถใช้คอมเมนต์ซ้อนคอมเมนต์ได้จึงต้องระมัดระวังเวลาใช้งาน
2. ตัวอักษรใหญ่และตัวอักษรเล็กถือเป็นคนละตัวกัน เช่น File, file, filE, FILE ถือว่าเป็นคนละชื่อกัน
3. ชื่อจะขึ้นต้นด้วยตัวเลขไม่ได้ จะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย underscore ( _ ) เท่านั้น แต่ภายในชื่อสามารถมีได้ทั้งตัวอักษร เครื่องหมาย underscore และตัวเลข เช่น _Test, Test_1, Hello1234, H1_T2 เป็นต้น
4. การตั้งชื่อจะเว้นวรรคไม่ได้ (ห้ามมีช่องว่างหรือแท็บภายในชื่อ)
5. การตั้งชื่อจะประกอบไปด้วยอักขระพิเศษไม่ได้ เช่น !, @, #, $, %, ^, & เป็นต้น
#include <stdio.h> ----(1)
main() ----(2)
{
..... ----(3)
}
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. ส่วนหัวของโปรแกรม (Preprocessing Directives)
ส่วนหัวของโปรแกรมใช้เพื่อบอกให้คอมไพล์เลอร์กระทำการใดๆก่อนการแปลผลโปรแกรม โดยการกำหนดส่วนหัวของโปรแกรมจะต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # (pound sign) เสมอ
คำสั่งที่จะใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นำเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
- #include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพเลอร์จะทำการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ จากไดเร็คทอรี(ปกติคือไดเร็คทอรี include) ที่ใช้สำหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ
- #include "ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์" คอมไพเลอร์จะทำการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ จากไดเร็คทอรีเดียวกันกับไฟล์โค้ดโปรแกรม แต่ถ้าไม่พบจะไปค้นหาจากไดเร็คทอรีที่ใช้สำหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ
ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซีคือ ฟังก์ชั่น main() ภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่น main() เสมอจะขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตการทำงานของฟังก์ชั่นจะถูกกำหนดด้วยเครื่องหมาย { (เริ่มต้น) และ } (สิ้นสุด) ฟักก์ชั่น main() จะไม่มีอาร์กิวเมนต์ (argument) คือ ไม่มีการรับค่าใดๆเข้ามาประมวลผลภายในฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใดๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย
main() เขียนได้อีกอย่างคือ void main(void)
void ก่อน main() คือ parameter เป็นค่าที่ส่งออกไปจากฟังก์ชั่นvoid ภายในวงเล็บ main() คือ argument เป็นตัวรับค่าเข้ามาภายในฟังก์ชั่น
***ค่าของ parameter และ argument จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน
3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม
เป็นส่วนของการเขียนคำสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทำงานตามที่ได้ออกแบบไว้
คอมเมนต์ในภาษาซี
คอมเมนต์ คือ ส่วนที่มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่คำอธิบายโค้ดโปรแกรมที่เขียนลงไปให้ส่วนของ source code ซึ่งคอมไพล์จะไม่ทำการแปลผลในส่วนนี้ คอมเมนต์ในภาษาซีมีอยู่ 2 แบบ คือ
1. คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว จะใช้เครื่องหมาย //
2. คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด จะใช้เครื่องหมาย /* หน้าข้อความที่ต้องการเขียน และ */ ปิดหลังข้อความ ***คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะทำให้ประหยัดเวลาในการใส่คอมเมนมากกว่ากรณีต้องการใส่คอมเมนต์หลายบรรทัดแต่การใช้คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะไม่สามารถใช้คอมเมนต์ซ้อนคอมเมนต์ได้จึงต้องระมัดระวังเวลาใช้งาน
เช่น
//Comment only one line
//ข้อความบรรทัดเดียว
#include <stdio.h>
int main()
{
/*Comment
meny
line*/
/*ข้อความ
หลาย
บรรทัด*/
}
กฏการตั้งชื่อ
กฏการตั้งชื่อตัวแปร
ฟังก์ชั่น และ เลเบลในภาษาซีมีดังนี้
1. ชื่อที่ตั้งจะต้องไม่ซ้ำกับคำสงวน(reserved word)ในภาษาซี
asm
else long typedef
auto
enum near union
break
extern pascal unsigned
case
far register void
cdecl
float return volatile
char
for short while
const
goto signed _Packed
continue
huge sizeof _cs
default
if static _ds
do
int struct _es
double interrupt switch _ss
3. ชื่อจะขึ้นต้นด้วยตัวเลขไม่ได้ จะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย underscore ( _ ) เท่านั้น แต่ภายในชื่อสามารถมีได้ทั้งตัวอักษร เครื่องหมาย underscore และตัวเลข เช่น _Test, Test_1, Hello1234, H1_T2 เป็นต้น
4. การตั้งชื่อจะเว้นวรรคไม่ได้ (ห้ามมีช่องว่างหรือแท็บภายในชื่อ)
5. การตั้งชื่อจะประกอบไปด้วยอักขระพิเศษไม่ได้ เช่น !, @, #, $, %, ^, & เป็นต้น
แหล่งอ้างอิง
อรพิน ประวัติบริสุทธิ์.(2552). คู่มือเรียนภาษาซี ฉบับปรับปรุงใหม่. กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น